Economic Trade in Laos
ตัวชี้วัดทางสังคมและเศรษฐกิจของประเทศศรีลังกาและประเทศลาว
ประเทศลาว | ประเทศศรีลังกา | |
ชื่อทางการ | สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว | สาธารณรัฐสังคมนิยมประชาธิปไตย ศรีลังกา |
ขนาดพื้นที่ | 236,800 ตร.กม. | 65,610 ตร. กม. |
เมืองหลวง | นครหลวงเวียงจันทน์ | ศรีชยวรรธนปุระโกฏเฏ |
จำนวนประชากร | 7,852,377 (ปี 2023) | 23,326,272 (ปี 2023) |
อายุขัยเฉลี่ย | 66 ปี | 75.5 ปี |
กลุ่มชาติพันธุ์ | ลาว ร้อยละ 53.2, ขมุ ร้อยละ 11, ม้ง ร้อยละ 9.2, ภูไท ร้อยละ 3.4, ไท ร้อยละ 3.1, มะกอง ร้อยละ 2.5, กะตอง ร้อยละ 2.2, ลือ ร้อยละ 2.2, อาข่า ร้อยละ 1.8 และอื่น ๆ ร้อยละ 11.6 (ปี 2015) | สิงหล ร้อยละ 74.9, ศรีลังกา-ทมิฬ ร้อยละ 11.2, ศรีลังกา-มัวร์ ร้อยละ 9.2, อินเดีย-ทมิฬ ร้อยละ 4.2, และอื่น ๆ ร้อยละ 0.5 (ปี 2012) |
ศาสนา | พุทธ ร้อยละ 64.7, คริสต์ ร้อยละ 1.7, ไม่มีศาสนา ร้อยละ 31.4, ไม่ระบุ ร้อยละ 2.1 (ปี 2015) | พุทธ ร้อยละ 70.2, ฮินดู ร้อยละ 12.6, มุสลิม ร้อยละ 9.7, โรมันคาทอลิก ร้อยละ 6.1 และคริสต์แบบอื่น ๆ ร้อยละ 1.3 (ปี 2012) |
ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (GDP) | 18.246 พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ | 84.5 พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ |
อัตราผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (GDP rate) | ร้อยละ 0.44 (ปี 2020) | ร้อยละ 3.7 (ปี 2021) |
ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศต่อหัว | 1,8535.66 ดอลลาร์สหรัฐฯ | 3,814 ดอลลาร์สหรัฐฯ |
ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (GDP) ในแต่ละภาคส่วน | ภาคเกษตรกรรม: ร้อยละ 20.9 | ภาคเกษตรกรรม: ร้อยละ 7 (ปี 2020 ไม่รวมภาษี) |
ภาคอุตสาหกรรม: ร้อยละ 33.2 | ภาคอุตสาหกรรม: ร้อยละ 25.5 (ปี 2020 ไม่รวมภาษี) | |
ภาคบริการ: ร้อยละ 45.9 | ภาคบริการ: ร้อยละ 58.7 (ปี 2020 ไม่รวมภาษี) | |
แรงงาน | 3.582 ล้านคน (ปี 2017) | 8.553 ล้านคน (ปี 2021) |
แรงงานในแต่ละภาคส่วน | ภาคเกษตรกรรม: ร้อยละ 73.1 | ภาคเกษตรกรรม: ร้อยละ 27.3 (ปี 2021) |
ภาคอุตสาหกรรม: ร้อยละ 6.1 | ภาคอุตสาหกรรม: ร้อยละ 26.0 (ปี 2021) | |
ภาคบริการ: ร้อยละ 20.6 (ปี 2012) | ภาคบริการ: ร้อยละ 46.7 (ปี 2021) | |
อัตราการว่างงาน | ร้อยละ 0.7 (ปี 2017) | ร้อยละ 5.1 (ปี 2021) |
อัตราเงินเฟ้อ | ร้อยละ 0.8 (ปี 2017) | ร้อยละ 6 (ปี 2021) |
ผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร | ข้าว, มันสำปะลัง,อ้อย, กล้วย, แตงโม, ข้าวโพด, เผือก และกาแฟ | ข้าว, อ้อย, ธัญพืช, เครื่องเทศ, ชา, ยาง, มะพร้าว, ปลา, และนม |
อุตสาหกรรม | เหมือง (ทองแดง, ดีบุก, ทองคำ, ยิปซั่ม), ไม้แปรรูป, เครื่องใช้ไฟฟ้า, ยาง, ก่อสร้าง, เสื้อผ้า และท่องเที่ยว | ยาง, ชา, มะพร้าว, สินค้าโภคภัณฑ์, การสื่อสาร, ประกัน, ธนาคาร, การท่องเที่ยว, การขนส่ง, ผ้า, การกลั่นน้ำมัน |
มูลค่าการส่งออก | 7.82 พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ (ปี 2021) | 12.249 พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ (ปี 2021) |
สินค้าส่งออก | เครื่องไฟฟ้า, ทองแดง, ยาง, ทองคำ, เครื่องดื่มแต่งกลิ่น | ผ้า, ชา, เครื่องเทศ, ยาง, หิน, ผลิตภัณฑ์จากมะพร้าว และปลา |
ประเทศที่ส่งออก | ไทย ร้อยละ 36, จีน ร้อยละ 28, เวียดนาม ร้อยละ 16 (ปี 2019) | สหรัฐฯ ร้อยละ 25.07, สหราชอาณาจักร ร้อยละ 7.63, อินเดีย ร้อยละ 6.66, เยอรมนี ร้อยละ 6.16 และอิตาลี ร้อยละ 4.72 (ปี 2021) |
มูลค่าการนำเข้า | 6.527 พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ (ปี 2021) | 20.052 พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ (ปี 2021) |
สินค้านำเข้า | น้ำมัน, รถยนต์, วัว, โครงสร้างและผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวกับเหล็ก | น้ำมัน, ผ้า, เครื่องจักร และอุปกรณ์ในการขนส่ง, ผลิตภัณฑ์แร่, อาหาร |
ประเทศที่นำเข้า | ไทย ร้อยละ 53, จีน ร้อยละ 26, เวียดนาม ร้อยละ 10 (ปี 2019) | จีน ร้อยละ 23.71, อินเดีย ร้อยละ 22.5, ยูเออี ร้อยละ 6.55, มาเลเซีย ร้อยละ 3.84 และสิงโปร์ ร้อยละ 3.61 (ปี 2021) |
ที่มา: The World Factbook/ธนาคารกลางแห่งศรีลังกา/กรมศุลกากรศรีลังกา
1. การส่งออกและนำเข้าของศรีลังกา ปริมาณการค้าและดุลการค้ากับลาว
ดุลการค้าระหว่างศรีลังกากับลาวในรอบ 6 ปีล่าสุด ซึ่งแสดงในตารางที่ 1 ดังต่อไปนี้
ตารางที่ 1 การค้ากับลาว
หน่วยล้านเหรียญสหรัฐ
ปี | การส่งออก | การนำเข้า | มูลค่าการค้ารวม | ดุลการค้า | ร้อยละ การส่งออกต่อ การนำเข้า | |||
มูลค่า | การเติบโต | มูลค่า | การเติบโต | มูลค่า | การเติบโต | |||
2017 | 0.2194 | – | 0.2693 | – | 0.4886 | – | -0.0499 | 81.47 |
2018 | 0.0146 | -93.34 | 0.0250 | -90.72 | 0.0396 | -91.90 | -0.0104 | 58.43 |
2019 | 0.0024 | -83.83 | 0.0479 | 91.69 | 0.0503 | 26.96 | -0.0455 | 4.93 |
2020 | 0.0016 | -31.15 | 0.0864 | 80.43 | 0.0880 | 75.19 | -0.0848 | 1.88 |
2021 | 0.1048 | 6345.15 | 1.4282 | 1,552.70 | 1.5330 | 1,641.20 | -1.3234 | 7.34 |
2022 | 0.0079 | -92.46 | 0.56 | -61.00 | 0.56 | -63.15 | -0.55 | 1.42 |
ที่มา: กรมศุลกากรศรีลังกา
ในปี 2017 มูลค่าการส่งออกสินค้าจากศรีลังกาไปยังประเทศลาวมีมูลค่ามากที่สุดใน 6 ปีหลังสุด ซึ่งในปีถัดมากลับตกไปอยู่ในระดับที่ต่ำ อย่างไรก็ตาม ในปี 2021 มูลค่าการส่งออกไปยังลาวพุ่งสูงขึ้นมากถึง 1แสนดอลลาร์สหรัฐฯ ทว่ามูลค่าดังกล่าวกลับตกลงอย่างมากในปี 2022 โดยจะเห็นได้ว่าดุลการค้ามิได้ส่งผลในเชิงบวกต่อศรีลังกาในช่วง 6 ปีหลังสุด ในทางกลับกัน ในปี 2021 มูลค่าการนำเข้าสินค้าจากลาวพุ่งสูงมากถึง 1.43 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ ซึ่งเป็นการเติบโตขึ้นอย่างมากเมื่อเทียบกับปีก่อน
การส่งออกของศรีลังกาไปลาว (Sri Lanka’s Exports to Laos)
- ลาวเป็นตลาดส่งออกลำดับที่ 194 ของศรีลังกา ซึ่งในปี 2022 ลาวมีส่วนแบ่งตลาดส่งออกของ ศรีลังกาอยู่ที่ร้อยละ 0.0006
- ผ้าทอ เป็นสินค้าส่งออกหลักของศรีลังกาไปยังประเทศลาว ซึ่งคิดเป็นร้อยละ 90 ของสินค้าส่งออกจากศรีลังกา-ลาว ดังตารางที่ 2
ตารางที่ 2 สินค้าส่งออกหลักจากศรีลังกา – ลาว
หน่วยล้านเหรียญสหรัฐ
รหัส | คำอธิบาย | 2018 | 2019 | 2020 | 2021 | 2022 | สัดส่วนในปี 2022 | การเปลี่ยนแปลง ในปี 2022 จากปี 2021 |
58 | ผ้าทอพิเศษ | – | – | – | 0.03 | 0.01 | 90 | -75.45 |
1211 | ต้นไม้ และ ส่วนของต้นไม้ | – | – | – | – | 0.0007 | 9 | – |
0902 | ชา | – | – | – | – | 0.0001 | 1 | – |
26 | แร่, กากแร่, เถ้า | – | – | – | 0.02 | – | – | – |
32 | สารสกัด | – | – | – | 0.0004 | – | – | – |
39 | พลาสติก | – | – | 0.0003 | – | – | – | – |
49 | หนังสือ, หนังสือพิมพ์ | 0.0001 | – | – | – | – | – | – |
52 | ผ้าคอตตอน | – | – | 0.0001 | – | – | – | – |
60 | ผ้าโครเชต์ | 0.00007 | – | – | 0.0003 | – | – | – |
61 & 62 | เครื่องแต่งกาย | – | 0.002 | – | 0.02 | – | – | – |
7113 | เครื่องประดับ | 0.01 | – | – | – | – | – | |
72 & 73 | เหล็กกล้า | – | – | 0.001 | – | – | – | – |
27101960 | น้ำมันเตา | – | – | – | 0.04 | – | – | – |
สินค้าส่งออกอื่น ๆ | 0.0001 | – | – | 0.00006 | – | – | – | |
การส่งออก (รวม) | 0.01 | 0.00 | 0.00 | 0.10 | 0.01 | 100 | -92.46 |
ที่มา: กรมศุลกากรศรีลังกา
การนำเข้าสินค้าจากลาวสู่ศรีลังกา (Sri Lanka’s Imports from Laos)
- ประเทศลาวอยู่ในอันดับที่ 89 ของประเทศที่นำเข้าสินค้าจากศรีลังกา ซึ่งมีสัดส่วนร้อย 0.003 ของการนำเข้าสินค้าสู่ศรีลังกาทั้งหมดในปี 2022
- โดยปุ๋ยเป็นสินค้านำเข้าหลัก อันคิดเป็นร้อยละ 61.16 ของสินค้าที่นำเข้าจากประเทศลาวทั้งหมดในปี 2021 ดังตารางที่ 3
ตารางที่ 3: สินค้านำเข้าหลักจากลาว
หน่วยล้านเหรียญสหรัฐ
รหัส | คำอธิบาย | 2018 | 2019 | 2020 | 2021 | 2022 | สัดส่วนสินค้าในปี 2022 | การเปลี่ยนแปลง ในปี 2022 จากปี 2021 |
31 | ปุ๋ย | – | – | – | – | 0.34 | 61.16 | – |
48 | กระดาษและกระดาษแข็ง | 0.00002 | – | – | 1.34 | 0.21 | 38.20 | -84.32 |
8504 | หม้อแปลงไฟฟ้า | – | – | – | – | 0.0001 | 0.02 | – |
49 | หนังสือ, หนังสือพิมพ์ | – | – | 0.01 | 0.000002 | 0.0001 | 0.02 | – |
61 & 62 | เครื่องแต่งกาย | 0.00004 | 0.00009 | 0.00002 | 0.0001 | 0.02 | – | |
9503 | จักรยาน | – | – | – | – | 0.0001 | 0.02 | – |
สินค้านำเข้าอื่น ๆ | 0.02 | 0.05 | 0.08 | 0.09 | 0.01 | 0.04 | -100 | |
การนำเข้า (รวม) | 0.02 | 0.05 | 0.09 | 1.43 | 0.56 | 100 | -61 |
ที่มา: กรมศุลกากรศรีลังกา
สิทธิพิเศษทางด้านการค้า (Preferential Trade)
ประเทศศรีลังกาและประเทศลาวต่างเป็นภาคีในข้อตกลงการค้าเอเชียแปซิฟิก (Asia-Pacific Trade Agreement: APTA) ซึ่งเป็นที่รู้จักกันในชื่อว่า “ข้อตกลงกรุงเทพ” อันมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 1 กันยายน 2549 ทั้งศรีลังกาและลาวเป็นสมาชิกของ APTA
ทว่า การค้าระหว่างประเทศศรีลังกาและประเทศลาวยังมิเกิดขึ้นภายใต้ข้อตกลงดังกล่าว
ขอบเขตการขยายการส่งออกสินค้าไปสู่ประเทศลาว
เมื่อพิจารณาถึงการเพิ่มขึ้นของความต้องการซื้อในประเทศลาวและความสามารถในการจัดหาสินค้าและบริการอย่างยั่งยืนของศรีลังกา ซึ่งมีแนวโน้มทำให้สินค้าดังต่อไปนี้ขยายการส่งออกที่มากขึ้น
– ยางตัน/ยางคูชชั่น แผ่นยาง
– อาหารสัตว์
– ชาดำ ขนาดบรรจุ<=3กก.
– ยางรถยนต์ใหม่
– ตู้ควบคุมระบบไฟฟ้า
– ยางธรรมชาติ
– ปูนซีเมนต์พอร์ตแลนด์
– เศษข้าว
สถิติการค้าทวิภาคีเพิ่มเติม – ลาว
ปี | อันดับ | มูลค่าดอลลาร์สหัฐ (ล้าน) | ร้อยละของการส่งออกไปทั่วโลก | อัตราการเติบโต (เท่า) |
1977 | – | – | – | – |
2022 | 174 | 0.10 | 0.0009 | – |
ที่มา: กรมศุลกากรศรีลังกา
หมายเหตุ: ในปี 1997 มูลค่าการส่งออกของศรีลังกาทั่วโลกอยู่ที่ 743 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ โดยในปี 1977 มีมูลค่ามากถึง 12,249 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ ซึ่งในปี 2021 มีอัตราการเติบโตมากกว่าเดิมประมาณ 16 เท่า
สถิติการค้าทวิภาคี
หน่วยล้านเหรียญสหรัฐ
ปี | การส่งออก | ส่วนแบ่งของร้อยละ การส่งออกทั่วโลก | การนำเข้า | ยอดการค้ารวม | ดุลการค้า |
1995 | – | – | – | – | – |
2000 | 0.03 | 0.0007 | – | 0.03 | 0.03 |
2001 | 0.00 | 0.00 | 0.00 | 0.00 | 0.00 |
2002 | 0.00 | 0.00 | 0.00 | 0.00 | 0.00 |
2003 | 0.13 | 0.003 | 0.00 | 0.13 | 0.13 |
2004 | 0.00 | 0.00 | 0.00 | 0.00 | 0.00 |
2005 | 0.11 | 0.002 | 0.00 | 0.11 | 0.11 |
2006 | 0.02 | 0.0002 | 0.02 | 0.04 | 0.00 |
2007 | 0.04 | 0.0005 | 0.00 | 0.04 | 0.04 |
2008 | 0.00 | 0.00 | 0.00 | 0.00 | 0.00 |
2009 | 0.00 | 0.00 | 0.00 | 0.00 | 0.00 |
2010 | 0.01 | 0.0001 | 0.00 | 0.01 | 0.01 |
2011 | 0.10 | 0.001 | 0.01 | 0.11 | 0.09 |
2012 | 0.09 | 0.0009 | 0.00 | 0.09 | 0.09 |
2013 | 0.09 | 0.0009 | 0.09 | 0.18 | 0.00 |
2014 | 0.02 | 0.0002 | 0.00 | 0.02 | 0.02 |
2015 | 0.004 | 0.00004 | 0.43 | 0.43 | -0.42 |
2016 | 2.15 | 0.02 | 7.60 | 9.74 | -5.45 |
2017 | 0.22 | 0.002 | 0.27 | 0.49 | -0.05 |
2018 | 0.01 | 0.0001 | 0.02 | 0.04 | -0.01 |
2019 | 0.002 | 0.00002 | 0.05 | 0.05 | -0.05 |
2020 | 0.002 | 0.00002 | 0.09 | 0.09 | -0.09 |
2021 | 0.10 | 0.0009 | 1.43 | 1.53 | -1.32 |
2022 | 194 | 0.0006 | 0.56 | 0.56 | -0.55 |
ที่มา: กรมศุลกากรศรีลังกา / แผนที่การค้า