ශ්‍රී ලංකා ප්‍රජාතාන්ත්‍රික සමාජවාදී ජනරජයේ තානාපති සහ නිත්‍ය නියෝජිත කාර්යාලය, බැංකොක්, තායිලන්ත රාජධානිය

இலங்கை ஜனநாயக சோசலிச குடியரசின் தூதரகம் மற்றும் நிரந்தர வதிவிடம், பாங்கொக், தாய்லாந்து இராச்சியம்

The Embassy and Permanent Mission of the Democratic Socialist Republic of Sri Lanka
Bangkok, Kingdom of Thailand

Accredited to the Kingdom of Cambodia, Lao People’s Democratic Republic and
United Nations Economic and Social Commission for Asia and the Pacific (UNESCAP)

เลือกหน้า
embassy sri lanka
Unescap logos
embassy sri lanka

The Embassy and Permanent Mission of the Democratic Socialist Republic of Sri Lanka
Bangkok, Kingdom of Thailand

Accredited to the Kingdom of Cambodia, Lao People’s Democratic Republic and
United Nations Economic and Social Commission for Asia and the Pacific (UNESCAP)

Unescap logos
PRESS RELEASE

18th United Nations Day of Vesak Celebration 2023

PRESS RELEASE

Buddha Rashmi National Vesak Festival, Sri Lanka 2023

PRESS RELEASE

Sri Lankans alerted about fraudulent job offers in Thailand

PRESS RELEASE

With the 4th of February marking the 75th Anniversary of the Independence of Sri Lanka, the Sri Lanka Embassy in Thailand celebrated the occasion under the theme ‘Namo Namo Matha Let’s Leap Towards the Centenary’.

PRESS RELEASE

Buddha Rashmi National Vesak Festival, Sri Lanka 2023

PRESS RELEASE

Sri Lankans alerted about fraudulent job offers in Thailand

Blog Post
Home 5 Media Releases/News 5 Sri Lanka elected as Chair of the Seventh Asia Pacific Forum on Sustainable Development (APFSD), in Bangkok
Sri Lanka elected as Chair of the Seventh Asia Pacific Forum on Sustainable Development (APFSD), in Bangkok.

ศรีลังกาถูกโหวตให้เป็นประธานของการประชุมระดับภูมิภาคประจำปีเพื่อเตรียมการสำหรับเวทีหารือระดับสูงทางการเมืองว่าด้วยการพัฒนาที่ยั่งยืนครั้งที่ 7 ที่กรุงเทพฯ

เอกอัครราชทูตศรีลังกาประจำประเทศไทยและผู้แทนถาวรในเอสแคปกล่าวถ้อยแถลง ในการประชุมสุดยอดด้านนโยบายพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในภูมิภาคเอเชียและแปซิฟิก ครั้งที่ 1 ณ กรุงนิวเดลี

เอกอัครราชทูตศรีลังกาประจำประเทศไทยและผู้แทนถาวรในเอสแคปกล่าวถ้อยแถลง ในการประชุมสุดยอดด้านนโยบายพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในภูมิภาคเอเชียและแปซิฟิก ครั้งที่ 1 ณ กรุงนิวเดลี

เมื่อเร็วๆ นี้ ฯพณฯ วี เอ ชามินดา ไอ โคโลนเน่ เอกอัครราชทูตศรีลังกาประจำประเทศไทยและผู้แทนถาวรในคณะกรรมาธิการเศรษฐกิจและสังคมแห่งสหประชาชาติสำหรับเอเชียและแปซิฟิก (United Nations Economic and Social Commission for Asia and the Pacific) (เอสแคป) ได้กล่าวถ้อยแถลงในพิธีเปิดการประชุมสุดยอดด้านนโยบายพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในภูมิภาคเอเชียและแปซิฟิก ครั้งที่ 1 ณ ศูนย์การประชุมด้านถิ่นที่อยู่ของพืชและสัตว์ของอินเดีย (India Habitat Centre) กรุงนิวเดลี ทั้งนี้ เป็นไปตามคำเชิญของสภาวิจัยด้านความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศของอินเดีย (Indian Council for Research on International Economic Relations) ซึ่งการประชุมดังกล่าวจัดขึ้นโดยความร่วมมือของสภาวิจัยด้านความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศของอินเดียและคณะกรรมาธิการเศรษฐกิจและสังคมแห่งสหประชาชาติสำหรับเอเชียใต้และเอเชียตะวันตกเฉียงใต้

เอกอัครราชทูตศรีลังกาประจำประเทศไทยทำหน้าที่ประธานสมัยประชุม ในระหว่างประชุมคณะกรรมาธิการเศรษฐกิจและสังคมแห่งสหประชาชาติสำหรับเอเชียและแปซิฟิก ครั้งที่ 80 และการเปิดตัวสิ่งพิมพ์เกี่ยวกับความร่วมมือทางวิชาการ

เอกอัครราชทูตศรีลังกาประจำประเทศไทยทำหน้าที่ประธานสมัยประชุม ในระหว่างประชุมคณะกรรมาธิการเศรษฐกิจและสังคมแห่งสหประชาชาติสำหรับเอเชียและแปซิฟิก ครั้งที่ 80 และการเปิดตัวสิ่งพิมพ์เกี่ยวกับความร่วมมือทางวิชาการ

ฯพณฯ ซี เอ ชามินดา ไอ โคโลนเน่ เอกอัครราชทูตศรีลังกาประจำประเทศไทยและผู้แทนถาวรในคณะกรรมาธิการเศรษฐกิจและสังคมแห่งสหประชาชาติสำหรับเอเชียและแปซิฟิก (United Nations Economic and Social Commission for Asia and the Pacific) (เอสแคป) เป็นหัวหน้าคณะผู้แทนศรีลังกาเข้าร่วมประชุมคณะกรรมาธิการเศรษฐกิจและสังคมสำหรับเอเชียและแปซิฟิก ครั้งที่ 80 ในระหว่างวันที่ 22-26 เมษายน 2567 ณ กรุงเทพฯ ซึ่งการประชุมครั้งนี้กำหนดหัวข้อของการประชุมคือ “การใช้ประโยชน์จากนวัตกรรมทางด้านดิจิทัลเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืนในภูมิภาคเอเชียและแปซิฟิก (Leveraging digital innovation for sustainable development in Asia and the Pacific)” โดย ฯพณฯ ซี เอ ชามินดา ไอ โคโลนเน่ ได้รับคัดเลือกให้ทำหน้าที่รองประธานของการประชุมเอสแคป ครั้งที่ 80

การประชุมระดับภูมิภาคประจำปีเพื่อเตรียมการสำหรับเวทีหารือระดับสูงทางการเมืองว่าด้วยการพัฒนาที่ยั่งยืนครั้งที่ 7 ถูกจัดขึ้นวันที่ 20 พฤษภาคม ในกรุงเทพฯ ประเทศไทย การประชุมถูกจัดเป็นแบบเสมือนจริงเป็นครั้งแรก ตามชีวิตวิถีใหม่ในช่วงโควิด 19 และผู้แทนถาวรประจำคณะกรรมาธิการเสรษฐกิจและสังคมแห่งสหประชาชาติเอเชียและแปซิฟิก (UNESCAP) นางสมันตา เค. ชยสุริยะ เอกอัครราชทูตศรีลังกาประจำประเทศไทย เสียงสนับสนุนโหวตให้เป็นประธานของการประชุมระดับภูมิภาคประจำปีเพื่อเตรียมการสำหรับเวทีหารือระดับสูงทางการเมืองว่าด้วยการพัฒนาที่ยั่งยืนครั้งที่ 7 และจะทำหน้าที่นี้เป็นเวลา 1 ปี

การประชุมระดับภูมิภาคประจำปีเพื่อเตรียมการสำหรับเวทีหารือระดับสูงทางการเมืองว่าด้วยการพัฒนาที่ยั่งยืนครั้งที่7 ถูกจัดภายใต้ธีม การเร่งรัดการดำเนินการเพื่อบรรลุวาระการพัฒนาที่ยั่งยืน ค.ศ. 2030 ในเอเชีย-แปซิฟิก กล่าวถึงสหประชาชาติได้ประกาศหัวข้อ ‘ทศวรรษแห่งการกระทำ’ ในการตระหนักถึงปี ค.ศ. 2030 เอกอัครราชทูตนางสมันตา เค.ชยสุริยะ เปิดการประชุมโดยเน้นถึงความสำคัญของหุ้นส่วนความร่วมมือจากภาคส่วนที่หลากหลาย และการประสานงานระดับชาติและระดับภูมิภาคที่ดี รวมถึงสถาบันและสมาชิกทั้งหมดของสังคม เช่นเดียวกับชุดคำสั่งความร่วมมือพหุภาคีในการขับเคลื่อนไปข้างหน้า

การเข้าร่วมพิธีเปิดการประชุมออนไลน์จากนิวยอร์ก รองเลขาธิการสหประชาชาติ Amina J. Mohammed และเลขาธิการบริหารสหประชาชาติและเลขาธิการบริหารคณะกรรมาธิการเศรษฐกิจและสังคมแห่งสหประชาชาติสำหรับเอเชียและแฟซิฟิก (UNESCAP) Ms. Armida SalsiahAlisjahbana และ ด็อกเตอร์ดอน ปรมัตถ์วินัย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศไทยก็เข้าร่วมด้วยเช่นกัน ที่ประชุมมุ่งเน้นถึงความต้องการที่จะเปลี่ยนความท้าทายหลังจากวิกฤตโควิด19ให้ เป็นโอกาสใหม่ พวกเขาแนะนำการกระตุ้นการลงทุนในการปกป้องสังคมและการให้บริการสุขภาพ พัฒนาโมเดลเศรษฐกิจโดยเล็งถึงงานต่างๆที่ให้ความสำคัญและตระหนักถึงสิ่งแวดล้อมมากขึ้น ยกระดับนวัตกรรมการแก้ปัญหาเทคโนโลยีขั้นสูงในขณะที่แก้ไขความเหลื่อมล้ำในสังคมที่เกิดจากโอกาสการเข้าถึงสารสนเทศที่ไม่เท่ากัน และกระตุ้นความร่วมมือทางวิทยาศาสตร์ในภูมิภาคเอเชียแฟซิฟิก

การเข้าร่วมการประชุมจากกรุงโคลัมโบ Dr. Sugath Yalegama อธิบดีของสภาการพัฒนาอย่างยั่งยืนแห่งศรีลังกาได้แบ่งปันการตอบสนองของศรีลังกาในการยับยั้งโควิด19 และการเร่งรัดกระบวนการในวาระการพัฒนาอย่างยั่งยืน ค.ศ. 2030 เน้นย้ำถึงความจำเป็นและความสำคัญของการโฟกัสกลยุทธ์แบบทันทีและระยะสั้นหลังจากการระบาดโควิด19 เขายังได้ย้ำถึงความจริงเรื่องความต้องการใหม่ๆในการร่วมมือเพื่อวาระเป้าหมายปี ค.ศ. 2030

การประชุมมีผู้เข้าร่วมออนไลน์กว่า 730 ผู้แทนของรัฐสมาชิก ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องหลัก องค์กรภาคประชาสังคมและองค์กรที่ไม่ใช่องค์กรของรัฐ ซึ่งมีการเปิดโดย H.E. Fidelis Magalhães รัฐมนตรีสภาปฏิรูปกฎหมาย ติมอร์เลสเต ในฐานะประธานการประชุมระดับภูมิภาคประจำปีเพื่อเตรียมการสำหรับเวทีหารือระดับสูงทางการเมืองว่าด้วยการพัฒนาที่ยั่งยืน (APFSD) ครั้งที่ 6 การประชุม APFSD เป็นการรวมเข้าด้วยกันของการประชุมที่มีหัวเรื่องในประเด็นของอินเทอร์เน็ต และเพลตฟอร์มระดับภูมิภาคเพื่อการพัฒนาประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งความต้องการพิเศษในการทำให้สำเร็จของวาระการพัฒนาอย่างยั่งยืน ค.ศ. 2030

Ms. ShiranthiRatnayake อธิบดีฝ่ายการวางแผนระดับชาติ Ms.SamanthiSenanayake ผู้อำนวยการ และ Ms.SheronHewawaduge ผู้ช่วยผู้อำนวยการสภาพัฒนาอย่างยั่งยืนแห่งศรีลังกา เข้าร่วมแบบเสมือนจริงจากกรุงโคลัมโบ และ Mrs. Poornima Gunasekera อุปทูต Mr. Anil Sirimanna ที่ปรึกษา (ทางการค้า) และ Ms. Saritha Ranatunga เลขานุการโทของสถานเอกอัครราชทูตศรีลังกาในกรุงเทพฯ ประเทศไทย เป็นผู้แทนในการเข้าร่วมการประชุม APFSD ครั้งที่7 ด้วยเช่นกัน

สถานเอกอัครราชทูตศรีลังกาประจำประเทศไทย
กรุงเทพฯ ประเทศไทย
21 พฤษภาคม 2563

pdf 7th Asia-Pacific Forum on Sustainable Development Written inputs by Sri Lanka

Sri Lanka elected as Chair of the Seventh Asia Pacific Forum on Sustainable Development (APFSD), in Bangkok.