ශ්‍රී ලංකා ප්‍රජාතාන්ත්‍රික සමාජවාදී ජනරජයේ තානාපති සහ නිත්‍ය නියෝජිත කාර්යාලය, බැංකොක්, තායිලන්ත රාජධානිය

இலங்கை ஜனநாயக சோசலிச குடியரசின் தூதரகம் மற்றும் நிரந்தர வதிவிடம், பாங்கொக், தாய்லாந்து இராச்சியம்

The Embassy and Permanent Mission of the Democratic Socialist Republic of Sri Lanka
Bangkok, Kingdom of Thailand

Accredited to the Kingdom of Cambodia, Lao People’s Democratic Republic and
United Nations Economic and Social Commission for Asia and the Pacific (UNESCAP)

เลือกหน้า

ข่าวประชาสัมพันธ์

นางมิกิโกะ ทานากะ ผู้อำนวยการคณะกรรมาธิการเศรษฐกิจและสังคมสำหรับภูมิภาคเอเชียและแปซิฟิกแห่งสหประชาชาติประจำสำนักงานภูมิภาคเอเชียใต้และเอเชียตะวันตกเฉียงใต้ ณ กรุงนิวเดลี เข้าคาราวะเอกอัครราชทูตศรีลังกาและผู้แทนถาวรประจำประเทศไทย

นางมิกิโกะ ทานากะ ผู้อำนวยการคณะกรรมาธิการเศรษฐกิจและสังคมสำหรับภูมิภาคเอเชียและแปซิฟิกแห่งสหประชาชาติประจำสำนักงานภูมิภาคเอเชียใต้และเอเชียตะวันตกเฉียงใต้ ณ กรุงนิวเดลี เข้าคาราวะเอกอัครราชทูตศรีลังกาและผู้แทนถาวรประจำประเทศไทย

เมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2567 นางมิกิโกะ ทานากะ ผู้อำนวยการคณะกรรมาธิการเศรษฐกิจและสังคมสำหรับภูมิภาคเอเชียและแปซิฟิกแห่งสหประชาชาติประจำสำนักงานภูมิภาคเอเชียใต้และเอเชียตะวันตกเฉียงใต้ ณ กรุงนิวเดลี เข้าคาราวะเอกอัครราชทูตศรีลังกาและผู้แทนถาวรประจำประเทศไทย

นาย ฮานส์ กัตมัน ผู้อำนวยการบริหารศูนย์เตรียมความพร้อมป้องกันภับพิบัติ แห่งเอเชีย (ADPC) เข้าคาราวะเอกอัครราชทูตศรีลังกาและผู้แทนถาวรประจำ ระเทศไทย

นาย ฮานส์ กัตมัน ผู้อำนวยการบริหารศูนย์เตรียมความพร้อมป้องกันภับพิบัติ แห่งเอเชีย (ADPC) เข้าคาราวะเอกอัครราชทูตศรีลังกาและผู้แทนถาวรประจำ ระเทศไทย

เมื่อวันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2567 นาย ฮานส์ กัตมัน ผู้อำนวยการบริหารศูนย์เตรียมความพร้อมป้องกันภับพิบัติ แห่งเอเชีย (ADPC) เข้าคาราวะเอกอัครราชทูตศรีลังกาและผู้แทนถาวรประจำประเทศไทย และสมาชิกคณะกรรมการบริหารศูนย์เตรียมความพร้อมป้องกันภัยพิบัติแห่งเอเชีย นาง ซี เอ ชามินดา ไอ โคลอนเน ณ สถานเอกอัครราชทูตศรีลังกา กรุงเทพฯ โดยได้มีการหารือในเรื่องของภาวการณ์ที่กำลังเกิดขึ้นและอนาคต ในศรีลังกา รวมไปถึงการเสริมสร้างความร่วมมือระหว่าง ADPC และศรีลังกา ทั้งนี้ นาย อสลาม เปอร์เวซ รองผู้อำนวยกรรมการบริหาร ADPC นางอภิษฎา เวชกิต เจ้าหน้าที่ประสานงานด้านความเป็นหุ้นส่วนและ การมีส่วนรวมของผู้มีส่วนได้เสีย รวมไปถึง นางสามานมาลี เลขานุการเอก และผู้ช่วยกับดูแลงานบริหาร และนางวิเรชิก้า บันดาลา เลขานุการเอก ฝ่ายการค้า ต่างเข้าร่วมกันการประชุมข้างต้น

รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์แห่งราชอาณาจักรไทย ฯพณฯ ภูมิธรรม เวชยชัย ร่วมเป็นแขกเกียรติยศในงานเฉลิมฉลองครบรอบ 76 ปี แห่งการประกาศอิสรภาพหรือวันชาติของศรีลังกา ณ สยามสมาคม ในพระบรมราชูปถัมภ์ กรุงเทพมหานคร เมื่อวันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2567

รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์แห่งราชอาณาจักรไทย ฯพณฯ ภูมิธรรม เวชยชัย ร่วมเป็นแขกเกียรติยศในงานเฉลิมฉลองครบรอบ 76 ปี แห่งการประกาศอิสรภาพหรือวันชาติของศรีลังกา ณ สยามสมาคม ในพระบรมราชูปถัมภ์ กรุงเทพมหานคร เมื่อวันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2567

ภายหลังการลงนาม ทำความตกลงทางการค้าระหว่างประเทศศรีลังกา – ประเทศไทย ศรีลังกา – ไทย (SLTFTA) เมื่อวันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2567 ณ กรุงโคลัมโบ ได้สร้างยุทธศาสตร์ใหม่ในรูปแบบของความสัมพันธ์ทวิภาคีของศรีลังกา และไทย ท่านรองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ ฯพณฯ ภูมิธรรม เวชยชัย ร่วมเป็นแขกผู้มีเกียรติในงานเฉลิมฉลองครบรอบ 76 ปีแห่งการประกาศอิสรภาพหรือวันชาติของศรีลังกาในกรุงเทพมหานคร โดยจัดขึ้นที่สยามสมาคมในพระบรมราชูปถัมภ์ ในวันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2567 ซึ่งจัดโดยสถานทูตและคณะทูตผู้แทนถาวรศรีลังกาประจำประเทศไทย มีแขกเข้า

สำนักงานความร่วมมือพัฒนาเศรษฐกิจกับประเทศเพื่อนบ้าน (NEDA) แห่งประเทศไทย ยายการสนับสนุนศรีลังกา

สำนักงานความร่วมมือพัฒนาเศรษฐกิจกับประเทศเพื่อนบ้าน (NEDA) แห่งประเทศไทย ยายการสนับสนุนศรีลังกา

ในระหว่างการอภิปรายร่วมกันของเอกอัครราชทูต ซีเอ ชามินดา ไอ โคโลนเน่ เอกอัครราชทูตศรีลังกาประจำประเทศไทยและผู้แทนถาวรประจำUNESCAP พันเอก ศรัณยู วิริยเวชกุล รองผู้อำนวยการสำนักงานความร่วมมือพัฒนาเศรษฐกิจกับประเทศเพื่อนบ้านแห่งประเทศไทย เห็นด้วยกับส่งเสริมและขยาย ความร่วมมือของ NEDA กับศรีลังกา เมื่อวันที่ 15 มกราคม 2567 ณ สำนักงานความร่วมมือพัฒนาเศรษฐกิจกับประเทศเพื่อนบ้าน (NEDA) แห่งประเทศไทย

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรมของไทย นายเสริมศักดิ์ พงษ์พานิช ให้คำมั่นแก่เอกอัครราชทูตศรีลังกา ชามินดา โคโลนเน่ เพื่อกระชับความสัมพันธ์ทวิภาคี

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรมของไทย นายเสริมศักดิ์ พงษ์พานิช ให้คำมั่นแก่เอกอัครราชทูตศรีลังกา ชามินดา โคโลนเน่ เพื่อกระชับความสัมพันธ์ทวิภาคี

เมื่อวันนี้ 11 มกราคม 2567 เอกอัครราชทูตศรีลังกาและผู้แทนถาวรประจำ UNESCAP ซีเอ ชามินดา ไอ โคโลนเน่ เข้าเยี่ยมคารวะ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรมคนใหม่ของไทย นายเสริมศักดิ์ พงษ์พานิช ณ กระทรวงวัฒนธรรม

สถานเอกอัครราชทูตศรีลังกาประจำประเทศไทย และผู้แทนถาวรประจำ UNESCAP พิธีเริ่มการทำงานในปี 2567

สถานเอกอัครราชทูตศรีลังกาประจำประเทศไทย และผู้แทนถาวรประจำ UNESCAP พิธีเริ่มการทำงานในปี 2567

เอกอัครราชทูตศรีลังกาประจำประเทศไทย และผู้แทนถาวรประจำ UNESCAP ชามินดา โคโลนเน่ พร้อมด้วยเจ้าหน้าที่สถานเอกอัครราชทูต ทำพิธีเริ่มต้นการทำงานในวันที่ 1 มกราคม 2567 ณ สถานเอกอัครราชทูต

เอกอัครราชทูตศรีลังกาประจำประเทศไทยและผู้แทนถาวรประจำ UNESCAP จมินทะ โกโลนเน ได้ร่วมหารือกับดร.พงศ์ไท ไทโยธิน รองอธิบดีกรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่องการเปิดตลาดผลไม้ศรีลังกาในไทย

เอกอัครราชทูตศรีลังกาประจำประเทศไทยและผู้แทนถาวรประจำ UNESCAP จมินทะ โกโลนเน ได้ร่วมหารือกับดร.พงศ์ไท ไทโยธิน รองอธิบดีกรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่องการเปิดตลาดผลไม้ศรีลังกาในไทย

วันที่ 20 ธันวาคม 2566 เอกอัคคราชทูตศรีลังกาประจำประเทศไทยและผู้แทนถาวรประจำ UNESCAP จมินทะ โกโลนเน และดร.พงศ์ไท ไทโยธิน รองอธิบดีกรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ร่วมหารือและติดตามความคืบหน้าในประเด็นการพิจารณาคำขอเปิดตลาดผลไม้ 5 ชนิด ของศรีลังกา ได้แก่ มะพร้าวไฟผลสด มะขวิด สับปะรด แก้วมังกร พริกสก๊อช์บอนเนต ณ ห้องประชุมผู้บริหาร ชั้น 2 อาคารศูนย์ปฏิบัติการฝึกอบรมและถ่ายทอดเทคโนโลยี กรมวิชาการเกษตรแห่งประเทศไทย

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬาแห่งประเทศไทย สุดาวรรณ หวังศุภกิจโกศล ยินที่จะส่งเสริมการท่องเที่ยวแบบสองทาง (Two-way Tourism) ร่วมกับฝ่ายศรีลังกา

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬาแห่งประเทศไทย สุดาวรรณ หวังศุภกิจโกศล ยินที่จะส่งเสริมการท่องเที่ยวแบบสองทาง (Two-way Tourism) ร่วมกับฝ่ายศรีลังกา

. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬาแห่งประเทศไทย สุดาวรรณ หวังศุภกิจโกศล ยินที่จะส่งเสริมการท่องเที่ยวแบบสองทาง (Two-way Tourism) ร่วมกับฝ่ายศรีลังกา

Sri Lanka has implemented a comprehensive strategy

Sri Lanka has implemented a comprehensive strategy

In the aftermath of a 2022 economic crisis triggered by government debt and foreign exchange imbalances, Sri Lanka has implemented a comprehensive strategy to stabilize and recover its economy.