Press Releases
Thai National Secretary-General Reaffirms Commitment to Combat Human Trafficking and Rescue Victims in Myanmar
Ambassador and Permanent Representative of Sri Lanka E.A.S. Wijayanthi Edirisinghe, called on Mr. Chatchai Bangchuad, Secretary-General of the National Security Council (NSC) of Thailand on 10.01.2025. The meeting focused on fostering greater collaboration in the area of security and addressing shared challenges affecting both nations and the region.
Sri Lanka and Thailand Strengthens Defence Cooperation
Ambassador and Permanent Representative Wijayanthi Edirisinghe met with General Nipat Thonglek, Vice Minister for the Office of the Prime Minister of Thailand, to discuss on strengthening defence cooperation between Sri Lanka and Thailand mainly focusing human trafficking issues. The meeting, held in Bangkok on 09.01.2024, was also attended by senior officials from Thailand’s National Intelligence Agency and the National Security Council.
ในพิธีเปิดการประชุมเชิงปฏิบัติ หัวหน้าฝ่ายความเชื่อมโยงด้านคมนาคมขนส่ง และระบบการจัดการการส่งสินค้า และ ทรัพยากรของคณะกรรมาธิการเศรษฐกิจและสังคมแห่งสหประชาชาติสำหรับเอเชียและแฟซิฟิก(UNESCAP) Azhar Jaimurzina ได้ให้คำมั่นไว้ว่า UNESCAP จะให้การช่วยเหลือทางเทคนิคที่จำเป็นในการส่งเสริมกลยุทธ์การขนส่งสินค้าอย่างยั่งยืนในศรีลังกา เนื่องจาก ต้องการเพิ่มผลบวกภายนอกแก่การขนส่งสินค้า
ในการกล่าวเปิดงานของเธอ เอกอัครราชทูตและตัวแทนถาวรศรีลังกาประจำประเทศไทยนางโกโลนเน อัปปุหามิลาเค จมินทะ อิโนกา โกโลนเน ซาบซึ้งใจกับความพยายามและทำงานหนักตลอดมาของ UNESCAP ในการดูแลและประเมินการคมนาคมขนส่งสินค้าอย่างยั่งยืนในศรีลังกา และการพัฒนากลยุทธ์ระดับชาติ
เลขานุการกระทรวงการคมนาคมแห่งศรีลังกา Monty Ranatunge ยินดีกับการคิดริเริ่มของ UNESCAP เพื่อที่จะจัดการประชุมที่ปรึกษาระดับชาติเรื่องการคมนาคมขนส่งสินค้าอย่างยั่งยืน เขาได้แสดงความซึ้งใจกับการเตรียมแบบร่างกลยุทธ์โดย UNESCAP ในการปรึกษาหารือ เขาได้เห็นด้วยกับกลยุทธ์ดังกล่าว นอกเหนือกว่านั้น ยังมีการระบุพื้นที่ในกลยุทธ์ และเน้นย้ำถึงความต้องการในการเพิ่มบทบาทของการคมนาคมทางรถไฟ ภายใต้การดูแลของการขนส่งระบบรางในศรีลังกา
เจ้าหน้าที่ฝ่ายเศรษฐกิจของคณะกรรมาธิการเศรษฐกิจและสังคมแห่งสหประชาชาติสำหรับเอเชียและแฟซิฟิก (UNESCAP) Sandeep Jain ได้อธิบายอย่างละเอียดในเรื่องของกลยุทธ์ อธิบายถึงเหตุผลของกลยุทธ์การคมนาคมขนส่งสินค้าอย่างยั่งยืน เขากล่าวว่า แผนการนี้จะช่วยให้ศรีลังกาเตรียมการเชื่อมโยงต่อการคมนาคมขนส่งสินค้าอย่างยั่งยืน ประเมิน โดยการประเมินจากการคมนาคมแบบกระจัดกระจายในปัจจุบัน กลยุทธ์นี้จะสามารถช่วยเพิ่มพันธะให้แก่ศรีลังกาโดยเฉพาะอย่างยิ่งเรื่องเป้าหมายการพัฒนาย่างยั่งยืนแห่งสหประชาชาติ
แบบร่างของกลยุทธ์มุ่งเน้นไปที่7หัวข้อ รวมถึงการเพิ่มบทบาทของการคมนาคมทางรถไฟ การยกระดับการคมนาคมขนส่งหลายรูปแบบร่วมกัน ทำให้ศรีลังกากลายเป็นศูนย์กลางด้านการท่องเที่ยวและการขนส่งทางทะเล (Maritime Hub) สร้างความยืดหยุ่นของการขนส่งจากผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ เพิ่มพูนความยั่งยืนของการขนส่งทางถนน ความท้าทายการคมนาคมขนส่งในเมือง และกระจายบทบาทของผู้หญิงในภาคการขนส่งของศรีลังกา
ยังมีการระบุถึงตัวกลางทั้งห้าที่จะช่วยเพิ่มกลยุทธ์ รวมถึงเพิ่มความแข็งแกร่งแก่ธรรมาภิบาลสำหรับการคมนาคมขนส่งอย่างยั่งยืน การสร้างนโยบายการขนส่งอย่างมีประสิทธิภาพ ส่งเสริมการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการคมนาคม กระตุ้นการมีส่วนร่วมภาคเอกชน และหลากหลายแหล่งเงินทุนเพื่อการคมนาคมขนส่งอย่างยั่งยืน
การประชุมเชิงปฏิบัติมีตัวแทนจากกระทรวงมหาสมุทรและการประมงของสาธารณรัฐเกาหลีเข้าร่วมด้วยเช่นกัน ซึ่งเป็นผู้แบ่งปันประสบการณ์ของนโยบายท่าเรือ และอธิบายว่าศรีลังกาสามารถเรียนรู้จากพวกเขาอย่างไรได้บ้าง ตัวแทนสถาบันพัฒนาการคมนาคมแห่งเอเชีย(AITD)ได้แบ่งปันมุมมองการเผชิญหน้ากับความท้าทายของการรถไฟศรีลังกา และวิธีการบทบาทของการคมนาคมทางรถไฟในศรีลังกา ประธานของศูนย์โครงสร้างพื้นฐานทางเศรษฐกิจในมอสโควอธิบายถึงความเข้าใจของความคล่องตัวทางการขนส่งหลังการแพร่ระบาดกลายเป็นส่วนสำคัญสำหรับการวางแผนอย่างเหมาะสมและการลงทุนในด้านโครงสร้างพื้นฐานของการคมนาคมในศรีลังกา
ที่ประชุมเห็นด้วยที่แบบร่างกลยุทธ์จะได้ข้อสรุปในเร็วๆนี้หลังจากการปรึกษากับผู้เกี่ยวข้องและหลังจากนั้นการดำเนินการจะถูกรับรองโดยรัฐบาล
เลขานุการ D. Mataraarachchi กระทรวง อำนวยการสะดวกคลังสินค้า ลานตู้คอนเทนเนอร์ การอำนวยความสะดวกท่าเรืออุปทานและเรือ และการพัฒนาอุตสาหกรรมการขนส่ง และเจ้าหน้าที่อาวุโสอื่นๆจากกรมทางหลวง กระทรวงการขนส่งทางทะเล การท่าเรือศรีลังกา และการรถไฟศรีลังกาเข้าร่วมการอภิปรายด้วยเช่นกัน แล้วยังมีการแบ่งปันมุมมองจากตัวแทนที่ไม่ใช่จากภาครัฐ อย่างศาสตราจารย์ Lalith Edirisinghe จาก the CINEC Maritime Campus ศรีลังกา และ Saritha Ranatunga เลขานุการเอกและรองผู้แทนถาวรจากสถานเอกอัครราชทูต
สถานเอกอัครราชทูตศรีลังกาประจำประเทศไทย
กรุงเทพฯ ประเทศไทย
7 กรกฎาคม 2564