

Ambassador of Sri Lanka Contributes to UNESCAP – Side Event during the 81st ESCAP Commission Session
The Ambassador of Sri Lanka to the Kingdom of Thailand and the Permanent Representative to the United Nations Economic and Social Commission for Asia and the Pacific (UNESCAP) Wijayanthi Edirisinghe invited to attend a panel discussion at the BIMSTEC-ESCAP side event held during the 81st ESCAP Commission Session under the theme “Harnessing Digital Technologies for Sustainable Development in the Bay of Bengal Region.” On 23.04.2025.

Sri Lanka’s Engagement at 81st Session of the Economic and Social Commission for Asia and the Pacific (ESCAP)
The Ambassador of Sri Lanka to the Kingdom of Thailand and Permanent Representative to the United Nations Economic and Social Commission for Asia and the Pacific (UNESCAP) Wijayanthi Edirisinghe, led Sri Lanka’s delegation at the 81st Session of ESCAP, held from 21 to 25 April 2025 at the United Nations Conference Centre in Bangkok.
ผู้แทนถาวรศรีลังกาประจำ UNESCAP เสนอพระราชสาส์นตราตั้ง
นางสมันตา เค. ชยสุริยะเสนอพระราชสาส์นตราตั้งแก่นางอาร์มิดา ซัลเซียะฮ์ อาลิสจะฮ์บานา เลขานุการบริหารประจำสำนักคณะกรรมาธิการเศรษฐกิจและสังคมแห่งสหประชาชาติสำหรับเอเชียและแฟซิฟิก(UNESCAP) ในกรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นผู้แทนถาวรคนใหม่ของศรีลังกาวันนี้
ในการต้อนรับผู้แทนถาวรคนใหม่ เลขานุการผู้บริหารนางอาร์มิดา ซัลเซียะฮ์ อาลิสจะฮ์บานา กล่าวถึงอาณัติประจำ ESCAP และการประชุมประจำปีที่กำลังจะมาถึง และเชิญผู้มีส่วนร่วมอย่างต่อเนื่องของศรีลังกา อธิบายอย่างละเอียดถึงสามประเด็นหลักในช่วงการประชุมประจำปีพ.ศ. 2563 ภายใต้ธีม กระตุ้นเศรษฐกิจ ความร่วมมือการพัฒนาทางทะเลอย่างยั่งยืนของสังคมและสภาพแวดล้อม โดยใช้ชื่อว่า ความเชื่อมโยงทางทะเลอย่างยั่งยืน การประมงและมหาสมุทรปลอดมลพิษ เลขานุการบริหารยินดีกับความสนใจของศรีลังกาสำหรับการมีบทบาทที่สร้างสรรค์และมีส่วนช่วยในการพิจารณา
ขณะที่กำลังถ่ายทอดควสมชื่นชมของรัฐบาลศรีลังกาสำหรับการช่วยเหลือทางเทคนิคและการนับสนุนการเพิ่มขีดความสามารถที่ทาง ESCAP คอยขยายให้แก่ศรีลังกา ผู้แทนถาวรจำได้ว่ามีสมาชิกศรีลังกาผู้ซึ่งมีความเชียวชาญและคอยเตรียมการบริการแก่ ESCAP ทั้งในฐานะที่ปรึกษา และผู้ปฏิบัติงาน ในฐานะที่เป็นประเทศรายได้ปานกลางระดับบน PR Jayasuriya กล่าวไว้ว่าศรีลังกามีความสนใจอย่างสุดซึ้งในการส่งเสริมสุนทรียสนทนาร่วมกันและความร่วมมือระหว่างรัฐสมาชิกเพื่อรับรองความปลอดภัยทางการเดินเรือ โดยเฉพาะการเดินเรือที่ปลอดภัยและสงบในมหาสมุทรอินเดีย การประมงอย่างยั่งยืน และการลดมลพิษทางทะเล เป็นต้น ในขณะเดียวกันประเทศก็ได้ประกาศใช้การพัฒนาอย่างยั่งยืนในปี 2560 และรวมเข้าด้วยกันกับเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืนเป็นยโยบายแห่งชาติ เธอมั่นใจว่าศรีลังกาจะมองหาความร่วมมือที่มากขึ้นกับคณะกรรมาธิการในเรื่องที่มีความสนใจร่วมกัน
นางสาวสาริธา รานาตุงคะ เลขานุการคนที่สองมีความเกี่ยวข้องกับผู้แทนถาวร โดยมีนายมิทช์ เซียห์ เลขานุการ และนายลอเรนโซ ซานตุชชี รองเลขาธิการคณะกรรมาธิการ เข้าร่วมเป็นเลขานุการบริหารในที่ประชุม
หมายเหตุ: คณะกรรมาธิการเศรษฐกิจและสังคมแห่งเอเชียแฟซิฟิก (ESCAP) ถูกก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2490 (1947) เป็นศูนย์กลางภูมิภาคของสหประชาชาติเพื่อส่งเสริมความร่วมมือระหว่างสมาชิกในการพัฒนาด้วยกันอย่างยั่งยืน ศรีลังกากลายเป็นสมาชิกของคณะกรรมาธิการเศรษฐกิจและสังคมแห่งเอเชียแฟซิฟิก (ESCAP)ในปี พ.ศ. 2497 และตั้งแต่นั้นมาก็ได้รับการบริการนโยบายที่ปรึกษา การเพิ่มขีดความสามารถ และความช่วยเหลือทางเทคนิคแก่หน่วยงานรัฐเพื่อบรรลุเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน การลดความเสี่ยงของภัยพิบัติ การคมนาคม พลังงาน และการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เป็นต้น
สถานเอกอัครราชทูตศรีลังกาประจำประเทศไทย
กรุงเทพมหานคร
