ශ්‍රී ලංකා ප්‍රජාතාන්ත්‍රික සමාජවාදී ජනරජයේ තානාපති සහ නිත්‍ය නියෝජිත කාර්යාලය, බැංකොක්, තායිලන්ත රාජධානිය

இலங்கை ஜனநாயக சோசலிச குடியரசின் தூதரகம் மற்றும் நிரந்தர வதிவிடம், பாங்கொக், தாய்லாந்து இராச்சியம்

The Embassy and Permanent Mission of the Democratic Socialist Republic of Sri Lanka
Bangkok, Kingdom of Thailand

Accredited to the Kingdom of Cambodia, Lao People’s Democratic Republic and
United Nations Economic and Social Commission for Asia and the Pacific (UNESCAP)

เลือกหน้า

Press Releases

Home 5 Press Releases 5 Peter Mohan Maithri Pieris delivered the keynote speech at 5th Asia-Pacific Directors General Forum

เอกอัครราชทูตและผู้แทนถาวรศรีลังกาประจำสหประชาชาติ กรุงนิวยอร์ก ปีเตอร์ โมฮาน ไมตรี พีริส กล่าวคำปราศรัยสำคัญ ณ การประชุมใหญ่ผู้อำนวยการภูมิภาคเอเชียแปซิฟิกเพื่อความมือ South-South and Triangular ครั้งที่5 เมื่อวันที่ 27 พฤศจิกายน 2566 ที่สำนักงานคณะกรรมาธิการเศรษฐกิจและสังคมแห่งสหประชาชาติสำหรับเอเชียและแฟซิฟิก(UNESCAP) กรุงเทพมหานคร

เอกอัครราชทูตศรีลังกาประจำประเทศไทยและผู้แทนถาวรในเอสแคปกล่าวถ้อยแถลง ในการประชุมสุดยอดด้านนโยบายพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในภูมิภาคเอเชียและแปซิฟิก ครั้งที่ 1 ณ กรุงนิวเดลี

เอกอัครราชทูตศรีลังกาประจำประเทศไทยและผู้แทนถาวรในเอสแคปกล่าวถ้อยแถลง ในการประชุมสุดยอดด้านนโยบายพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในภูมิภาคเอเชียและแปซิฟิก ครั้งที่ 1 ณ กรุงนิวเดลี

เมื่อเร็วๆ นี้ ฯพณฯ วี เอ ชามินดา ไอ โคโลนเน่ เอกอัครราชทูตศรีลังกาประจำประเทศไทยและผู้แทนถาวรในคณะกรรมาธิการเศรษฐกิจและสังคมแห่งสหประชาชาติสำหรับเอเชียและแปซิฟิก (United Nations Economic and Social Commission for Asia and the Pacific) (เอสแคป) ได้กล่าวถ้อยแถลงในพิธีเปิดการประชุมสุดยอดด้านนโยบายพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในภูมิภาคเอเชียและแปซิฟิก ครั้งที่ 1 ณ ศูนย์การประชุมด้านถิ่นที่อยู่ของพืชและสัตว์ของอินเดีย (India Habitat Centre) กรุงนิวเดลี ทั้งนี้ เป็นไปตามคำเชิญของสภาวิจัยด้านความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศของอินเดีย (Indian Council for Research on International Economic Relations) ซึ่งการประชุมดังกล่าวจัดขึ้นโดยความร่วมมือของสภาวิจัยด้านความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศของอินเดียและคณะกรรมาธิการเศรษฐกิจและสังคมแห่งสหประชาชาติสำหรับเอเชียใต้และเอเชียตะวันตกเฉียงใต้

เอกอัครราชทูตศรีลังกาประจำประเทศไทยทำหน้าที่ประธานสมัยประชุม ในระหว่างประชุมคณะกรรมาธิการเศรษฐกิจและสังคมแห่งสหประชาชาติสำหรับเอเชียและแปซิฟิก ครั้งที่ 80 และการเปิดตัวสิ่งพิมพ์เกี่ยวกับความร่วมมือทางวิชาการ

เอกอัครราชทูตศรีลังกาประจำประเทศไทยทำหน้าที่ประธานสมัยประชุม ในระหว่างประชุมคณะกรรมาธิการเศรษฐกิจและสังคมแห่งสหประชาชาติสำหรับเอเชียและแปซิฟิก ครั้งที่ 80 และการเปิดตัวสิ่งพิมพ์เกี่ยวกับความร่วมมือทางวิชาการ

ฯพณฯ ซี เอ ชามินดา ไอ โคโลนเน่ เอกอัครราชทูตศรีลังกาประจำประเทศไทยและผู้แทนถาวรในคณะกรรมาธิการเศรษฐกิจและสังคมแห่งสหประชาชาติสำหรับเอเชียและแปซิฟิก (United Nations Economic and Social Commission for Asia and the Pacific) (เอสแคป) เป็นหัวหน้าคณะผู้แทนศรีลังกาเข้าร่วมประชุมคณะกรรมาธิการเศรษฐกิจและสังคมสำหรับเอเชียและแปซิฟิก ครั้งที่ 80 ในระหว่างวันที่ 22-26 เมษายน 2567 ณ กรุงเทพฯ ซึ่งการประชุมครั้งนี้กำหนดหัวข้อของการประชุมคือ “การใช้ประโยชน์จากนวัตกรรมทางด้านดิจิทัลเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืนในภูมิภาคเอเชียและแปซิฟิก (Leveraging digital innovation for sustainable development in Asia and the Pacific)” โดย ฯพณฯ ซี เอ ชามินดา ไอ โคโลนเน่ ได้รับคัดเลือกให้ทำหน้าที่รองประธานของการประชุมเอสแคป ครั้งที่ 80

Congratulations the newly appointed Deputy Prime Minister and Minister of Foreign Affairs
ขณะกล่าวคำปราศรัย ท่านได้กล่าวไว้ว่า “ในยุคที่เทคโนโลยีดิจิทัลมีผลต่อชีวิตประจำวัน สำคัญมากที่จะทำให้มั่นใจว่าความพยายามของเรา ใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการพัฒนาที่ครอบคลุมและยั่งยืนทั่วโลก และยิ่งในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิกที่มีประชากรกว่า 60 เปอร์เซ็นของโลกอาศัยอยู่ โดดเด่นด้วยวัฒนธรรม เศรษฐกิจ และภูมิทัศน์ที่หลากหลาย เป็นภูมิภาคที่ได้เห็นถึงความก้าวหน้าทางดิจิทัล จากอีคอมเมิร์ซไปจนถึงบริการทางอิเล็กทรอนิกส์ สู่การเงินดิจิทัล เราต้องรับรู้ถึงความจริงที่ว่า 7 ใน 10 ประเทศเศรษฐกิจชั้นนําของโลกที่มีอัตราส่วน ICT ต่อผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (GDP) มากที่สุด ซึ่งเราได้เห็นถึงผลกระทบทางดิจิทัล ในแง่อุตสาหกรรม ปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐาน และการเติบโตของการจ้างงาน”
ท่านได้เสริมว่า “ความร่วมมือ South-South กลายเป็นกลยุทธ์ที่สำคัญ โดยการบ่งปันทรัพยากร ความรู้ เทคโนโลยี และ ความชำนาญท่ามกลางประเทศภาคใต้ทั่วโลก เราสามารถเอาชนะอุปสรรคและการพัฒนาแบบเร่งด่วนร่วมกันได้ เอกลักษณ์ความร่วมมือของ South-South อยู่ในหลักการของผลประโยชน์ร่วมกัน เป็นความร่วมมือที่เท่าเทียมกัน ขับเคลื่อนโดยการแบ่งปันเป้าหมายและเคารพซึ่งกันและกัน ในยุคของการปฏิวัติอุตสาหกรรมครั้งที่สี่ ซึ่งจะมีผลกระทบอย่างลึกซึ้งต่อชีวิตของ เราไม่เพียง แต่ต้องมุ่งเน้นที่การยอมรับเทคโนโลยีใหม่ ๆ แต่ยังต้องส่งเสริมสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อความก้าวหน้าของนวัตกรรม นำมาซึ่งการลงทุนในด้านการศึกษาและการพัฒนาทักษะ สนับสนุน สตาร์ทอัพและผู้ประกอบการ และการสร้างนโยบายกระตุ้นการทดลองและนวัตกรรมดิจิทัล”
ท่านได้เน้นย้ำว่า “ในการแสวงหาการพัฒนาที่ยั่งยืนของเรา ความร่วมมือ South-South and triangular เป็นกุญแจสำคัญ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง นวัตกรรมดิจิทัล และการเปลี่ยนแปลง สามารถแบ่งปันความชำนาญด้านดิจิทัลและเทคโนโลยี และการโปรโมทการเข้าร่วมการวิจัยและการพัฒนา และการสนับสนุนจากพาร์ทเนอร์หลากหลายฝ่ายนำไปสู่การนวัตกรรมการแก้ปัญหาดิจิทัลเฉพาะภูมิภาค
คณะผู้แทนศรีลังกา นำโดยเอกอัครราชทูตและผู้แทนถาวรประจำ UNESCAP จมินทะ ไอ โกโลนเน ตามมาด้วยเลขาเอกและรองผู้แทนถาวรศรีลังกาประจำประเทศไทยนางสมันมาลี่ (A.W.S. Samanmali) และนางวิเรชิกา บันดารา (Vireshika Bandara)
สถานเอกอัครราชทูตศรีลังกาประจำประเทศไทย
ในกรุงเทพ ประเทศไทย
4 ธันวาคม 2566
เอกอัครราชทูตศรีลังกาประจำประเทศไทยและผู้แทนถาวรในเอสแคปกล่าวถ้อยแถลง ในการประชุมสุดยอดด้านนโยบายพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในภูมิภาคเอเชียและแปซิฟิก ครั้งที่ 1 ณ กรุงนิวเดลี

เอกอัครราชทูตศรีลังกาประจำประเทศไทยและผู้แทนถาวรในเอสแคปกล่าวถ้อยแถลง ในการประชุมสุดยอดด้านนโยบายพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในภูมิภาคเอเชียและแปซิฟิก ครั้งที่ 1 ณ กรุงนิวเดลี

เมื่อเร็วๆ นี้ ฯพณฯ วี เอ ชามินดา ไอ โคโลนเน่ เอกอัครราชทูตศรีลังกาประจำประเทศไทยและผู้แทนถาวรในคณะกรรมาธิการเศรษฐกิจและสังคมแห่งสหประชาชาติสำหรับเอเชียและแปซิฟิก (United Nations Economic and Social Commission for Asia and the Pacific) (เอสแคป) ได้กล่าวถ้อยแถลงในพิธีเปิดการประชุมสุดยอดด้านนโยบายพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในภูมิภาคเอเชียและแปซิฟิก ครั้งที่ 1 ณ ศูนย์การประชุมด้านถิ่นที่อยู่ของพืชและสัตว์ของอินเดีย (India Habitat Centre) กรุงนิวเดลี ทั้งนี้ เป็นไปตามคำเชิญของสภาวิจัยด้านความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศของอินเดีย (Indian Council for Research on International Economic Relations) ซึ่งการประชุมดังกล่าวจัดขึ้นโดยความร่วมมือของสภาวิจัยด้านความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศของอินเดียและคณะกรรมาธิการเศรษฐกิจและสังคมแห่งสหประชาชาติสำหรับเอเชียใต้และเอเชียตะวันตกเฉียงใต้

เอกอัครราชทูตศรีลังกาประจำประเทศไทยทำหน้าที่ประธานสมัยประชุม ในระหว่างประชุมคณะกรรมาธิการเศรษฐกิจและสังคมแห่งสหประชาชาติสำหรับเอเชียและแปซิฟิก ครั้งที่ 80 และการเปิดตัวสิ่งพิมพ์เกี่ยวกับความร่วมมือทางวิชาการ

เอกอัครราชทูตศรีลังกาประจำประเทศไทยทำหน้าที่ประธานสมัยประชุม ในระหว่างประชุมคณะกรรมาธิการเศรษฐกิจและสังคมแห่งสหประชาชาติสำหรับเอเชียและแปซิฟิก ครั้งที่ 80 และการเปิดตัวสิ่งพิมพ์เกี่ยวกับความร่วมมือทางวิชาการ

ฯพณฯ ซี เอ ชามินดา ไอ โคโลนเน่ เอกอัครราชทูตศรีลังกาประจำประเทศไทยและผู้แทนถาวรในคณะกรรมาธิการเศรษฐกิจและสังคมแห่งสหประชาชาติสำหรับเอเชียและแปซิฟิก (United Nations Economic and Social Commission for Asia and the Pacific) (เอสแคป) เป็นหัวหน้าคณะผู้แทนศรีลังกาเข้าร่วมประชุมคณะกรรมาธิการเศรษฐกิจและสังคมสำหรับเอเชียและแปซิฟิก ครั้งที่ 80 ในระหว่างวันที่ 22-26 เมษายน 2567 ณ กรุงเทพฯ ซึ่งการประชุมครั้งนี้กำหนดหัวข้อของการประชุมคือ “การใช้ประโยชน์จากนวัตกรรมทางด้านดิจิทัลเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืนในภูมิภาคเอเชียและแปซิฟิก (Leveraging digital innovation for sustainable development in Asia and the Pacific)” โดย ฯพณฯ ซี เอ ชามินดา ไอ โคโลนเน่ ได้รับคัดเลือกให้ทำหน้าที่รองประธานของการประชุมเอสแคป ครั้งที่ 80