Ambassador and Permanent Representative of Sri Lanka Wijayanthi Edirisinghe receives blessings from Buddhist and Hindu Temples
The Ambassador of Sri Lanka to Thailand and Permanent Representative to UNESCAP, E.A.S. Wijayanthi Edirisinghe and the Embassy Staff paid a courtesy visit to the revered Wat Phra Chetuphon Wimon Mangkhalaram Rajwaramahawihan (Wat Pho Temple) where she met with the esteemed Abbot, Most Venerable Phra Thepsithikarn.
Ambassador of Sri Lanka Engages with Chairman of Thai Chamber of Commerce and Board of Trade of Thailand to Strengthen Bilateral Trade Ties
Ambassador of Sri Lanka to Thailand, Wijayanthi Edirisinghe held a productive discussion with the Chairman of the Thai Chamber of Commerce and Board of Trade of Thailand, Sanan Angubolkul on 01 October 2024. The discussion focused on enhancing the long-standing relationship between Sri Lanka and Thailand, particularly in the areas of trade, investment and tourism.
ในการนำของผู้แทนศรีลังกา เอกอัครราชทูตศรีลังกาประจำประเทศไทยและตัวแทนถาวร UNESCAP นางโกโลนเน อัปปุหามิลาเค จมินทะ อิโนกา โกโลนเน ถ่ายทอดความซาบซึ้งใจแก่คณะกรรมการนโยบายมหภาค การลดความยากจน การสรรหาเงินทุนเพื่อการพัฒนาของ UNESCAP เพื่อเอาชนะความท้าทายในช่วงการแพร่ระบาดของโควิด 19 และแสดงถึงการให้การสนับสนุนของศรีลังกาแก่การก่อตั้งกลุ่มที่ปรึกษาด้านกลยุทธ์ทางการเงินเพื่อเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน พร้อมด้วยสมาชิกประเทศจีน ปุ่น ปากีสถาน ฝรั่งเศส และฟินแลนด์ ผู้ว่าการธนาคารกลางแห่งศรีลังกา Ajith Nivard Cabraal จะประสานงานกับกลุ่มดังกล่าว
การกล่าวถึงใจความสำคัญในด้านพิเศษของงาน ‘การสนทนาระดับภูมิภาคด้านการสรรหาเงินทุนเพื่อการพัฒนา ทางการเงินอย่างยั่งยืน และการจัดการความเสี่ยงจากหนี้จากผลพวงการแพร่ระบาดโควิด19 ศักยภาพกลยุทธ์นวัตกรรมการเงินอย่างยั่งยืน’ผู้ว่า Cabraal กล่าวไว้ว่า “การลดการระแวดระวังของประเทศในช่วงการแพร่เชื้อระบาดระดับโลกเป็นการสร้างความวุ่นวาย และก่อให้เกิดจุดอ่อน และเพิ่มช่องโหว่ให้ประเทศโดยการลดมาตรการและการเตรียมการเข้าถึงทางการเงินที่ต่ำ” ผู้ว่า Cabraal ยังได้เน้นเรื่องความสำคัญของการเตรียมการสิทธิไถ่ถอนเงินโดย กองทุนการเงินระหว่างประเทศ (International Monetary Fund – IMF) ในช่วงแรกๆของการระบาดของเชื้อไวรัส และได้อธิบายอย่างละเอียดเกี่ยวกับหลักการใหม่ของศรีลังกาในการจัดการความเสี่ยงของหนี้ โดยการลดตลาดตราสารหนี้ การจัดหาเงินทุนใหม่ระหว่างรัฐบาลกับรัฐบาล และการนำสินทรัพย์ที่มีอยู่และบางครั้งไม่ได้ใช้ (Underutilized Assets) มาใช้ให้เกิดประสิทธิภาพมากขึ้นได้อย่างสร้างสรรค์
ขณะแถลงการณ์ประเทศ อธิบดีของกรมทรัพยากร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังแห่งศรีลังกา Sampath Manthrinayake กล่าวว่าศรีลังกาสามารถรักษาความยั่งยืนของหนี้และการคลัง และขับเคลื่อนความยืดหยุ่นด้านการเติบโตและการจ้างงาน โดยเฉพาะอย่างยิ่งการมุ่งเป้าไปที่เศรษฐกิจสีเขียวและสีน้ำเงิน และเกษตรแบบใหม่ อนุญาตให้บริษัทท้องถิ่นที่มีประสิทธิภาพบูรณาการกลายเป็นเครือข่ายมูลค่าระดับสากล และบรรลุมูลค่าการผลิต ธุรกิจเชิงเกษตร และภาคส่วนงานบริการที่สูงขึ้น
อธิบดีของสภาการพัฒนาอย่างยั่งยืนแห่งศรีลังกา Chamindry Saparamadu ผู้อำนวยการฝ่ายทรัพยากร Samantha Bandara เลขานุการเอกและรองผู้แทนถาวร Saritha Ranatunga เป็นสมาชิกคณะผู้แทนจากศรีลังกา
สถานเอกอัครราชทูตและผู้แทนถาวรศรีลังกา
ในกรุงเทพ ประเทศไทย
27 ตุลาคม 2564